ไม้ใกล้ฝั่ง

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “ไม้ใกล้ฝั่ง” หมายความว่า
(สำ) ว. “แก่ใกล้จะตาย” [read more...]

ไม่ใช่ขี้ไก่

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “ไม่ใช่ขี้ไก่” หมายความว่า
(สํา) ว. “ไม่เลว มีอะไรดีเหมือนกัน ดูหมิ่นไม่ได้” [read more...]

ไม้ร่มนกจับ

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “ไม้ร่มนกจับ” หมายความว่า
(สํา) น. “ผู้มีวาสนาย่อมมีคนมาพึ่งบารมี” [read more...]

ไม่รู้จักเสือเอาเรือมาจอด ไม่รู้จักมอดเอาไม้มาขวาง

ไม่รู้จักเสือเอาเรือมาจอด ไม่รู้จักมอดเอาไม้มาขวาง หมายถึง การกระทำในสิ่งที่ไม่รู้ว่าอาจจะมีภัยหรือันตรายมาถึงตัว ซึ่งการกระทำนั้นอาจจะเกิดจากความโง่เขลา หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น [read more...]

มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรือนไหว

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรือนไหว” หมายความว่า
(สํา) ก. “มีสมบัติเพียงเล็กน้อยแต่กังวลจนนอนไม่หลับ” [read more...]

ไม่รู้อีโหน่อีเหน่

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “ไม่รู้อีโหน่อีเหน่” หมายความว่า
(สํา) ก. “ไม่รู้เรื่องราวที่เกิดขึ้น นอนหลับไม่รู้ นอนคู้ไม่เห็น” [read more...]

มีไฟย่อมมีควัน

มีไฟย่อมมีควัน หมายถึง มีเหตุการณ์เรื่องราวเกิดขึ้นก็ต้องมีสาเหตุ เช่น [read more...]

ไม่ดูเงาหัว

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “ไม่ดูเงาหัว” หมายความว่า
(สำ) ก. “ไม่รู้จักประมาณตน” [read more...]

มืดฟ้ามัวดิน

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “มืดฟ้ามัวดิน” หมายความว่า
ว. “มีจำนวนมากมาย เช่น มีประชาชนมาร่วมงานมืดฟ้ามัวดิน” [read more...]

ไม่ลงโบสถ์

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 “ไม่ลงโบสถ์” หมายความว่า
“โดยปริยายหมายความว่า เข้ากันได้ (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น นาย ก กับ นาย ข ไม่ลงโบสถ์กัน.ไม่ยอมทำกิจกรรมร่วมกัน” [read more...]