ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิต “เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน” หมายความว่า แสดงความรู้หรืออวดรู้กับผู้ที่รู้เรื่องดีกว่า. [read more...]
เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน
เอาทองไปรู่กระเบื้อง
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิต “เอาทองไปรู่กระเบื้อง ” หมายความว่า ทะเลาะกับคนพาลหรือผู้มีฐานะต่ำกว่า. [read more...]
เอากุ้งฝอยไปตกปลากะพง
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิต “เอากุ้งฝอยไปตกปลากะพง” หมายถึง ลงทุนน้อยหวังผลกําไรมาก. [read more...]
อ้อยเข้าปากช้าง
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิต “อ้อยเข้าปากช้าง” หมายความว่า สิ่งหรือประโยชน์ที่ตกอยู่ในมือแล้วไม่ยอมคืน. [read more...]
อย่าหวังนํ้าบ่อหน้า
อย่าหวังนํ้าบ่อหน้า เป็นสุภาษิตหมายถึง อย่าคาดหวังอะไรกับสิ่งที่ยังมาไม่ถึง เช่น [read more...]
อดเปรี้ยวไว้กินหวาน
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิต “อดเปรี้ยวไว้กินหวาน” หมายความว่า อดใจไว้ก่อนเพราะหวังสิ่งที่ดีกว่าข้างหน้า. [read more...]
เอาหูไปนา เอาตาไปไร่
สำนวน “เอาหูไปนา เอาตาไปไร่” หมายถึงแสร้งทำเป็นไม่รู้ไม่เห็น ไม่รับรู้ในสิ่งที่เกิดขึ้น สำนวนนี้มักจะใช้เปรียบเทียบถึงบุคคลที่มีหน้าที่ต้องรับรู้ ต้องตัดสินใจในสิ่งที่เกิดขึ้นหรือเป็นอยู่ แต่เขาก็แกล้งทำเป็นไม่รู้ไม่เห็นเสีย [read more...]
อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น
คำว่า “อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น” เป็นทั้งสำนวนและคำสุภาษิตไทย หมายความว่า เมื่อไปอาศัยอยู่กับใครก็อย่าไปอยู่เฉยๆ แต่ให้ช่วยเขาทำงานทำการบ้าง เช่น งานบ้านหรือกิจการของบ้านนั้นๆ [read more...]
อัฐยายซื้อขนมยาย
สำนวน “อัฐยายซื้อขนมยาย” นั้นหมายถึง การได้รับทรัพย์สินเงินทองจากบุคคลหนึ่ง แล้วนำกลับไปให้หรือซื้อของจากบุคคลคนนั้น เรียกได้ว่าได้ของหรือสินค้ามาโดยไม่ต้องลงทุนอะไรเลย [read more...]
เอาใจเขามาใส่ใจเรา
คำว่า “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” เป็นคำสุภาษิตไทยที่สอนหรือชี้นำให้ผู้คนไม่เอาแต่ใจตนเอง ไม่เห็นแก่ตัว แต่ให้นึกถึงจิตใจของผู้อื่น หรือผู้ที่อาจจะได้รับผลกระทบจากการกระทำของเรา [read more...]