ตีงูให้กากิน

ตีงูให้กากิน เป็นสุภาษิตหมายถึง การลงทุนหรือลงแรงเพื่อทำสิ่งใดไปแล้ว แต่ตัวเองไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งนั้นได้ ต้องปล่อยให้ประโยชน์นั้นตกไปเป็นของผู้อื่น แล้วตัวเองกลับได้ผลร้ายหรืออันตรายตอบแทน เช่น [read more...]

ตีปลาหน้าไซ

ตีปลาหน้าไซ เป็นสุภาษิตหมายถึง การพูดหรือกระทำการใดๆ ที่เป็นการทำลาย ขัดขวาง ผลประโยชน์ของผู้อื่น ทำให้กิจการของผู้อื่นที่กำลังดำเนินไปได้ด้วยดีเป็นอันต้องหยุดชะงักไป เช่น [read more...]

ตักน้ำรดหัวตอ

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิตตักน้ำรดหัวตอ” หมายความว่า แนะนําพรํ่าสอนเท่าไรก็ไม่ได้ผล ตักนํ้ารดหัวสาก ก็ว่า. [read more...]

ตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิตตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้” หมายความว่า ตกอยู่ในที่คับขันอย่างไรก็ไม่เป็นอันตราย เป็นคําเปรียบเทียบ หมายความว่า ตกอยู่ที่ใดก็ไม่สูญหาย เช่น ของหลวงตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้. [read more...]

ตำนํ้าพริกละลายแม่น้ำ

ตำนํ้าพริกละลายแม่น้ำ เป็นสุภาษิตหมายถึง การกระทำอะไรที่ไม่เหมาะสม ลงทุนลงแรงไปเป็นจำนวนมาก แต่ได้ผลลัพธ์เพียงน้อยนิดไม่คุ้มค่ากับที่ลงทุนไป หรือไม่มีประโยชน์อะไรเลย เช่น [read more...]

ตำข้าวสารกรอกหม้อ

ตำข้าวสารกรอกหม้อ เป็นสุภาษิตหมายถึง การทำงานแบบพอกินพอใช้ ทำให้เสร็จไปครั้งหนึ่งๆ ทำให้พ้นๆไปแต่ละวัน โดยไม่คิดถึงวันข้างหน้า เช่น [read more...]

ตัดหางปล่อยวัด

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิต “ตัดหางปล่อยวัด” หมายความว่า ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง ไม่เอาเป็นธุระอีกต่อไป. [read more...]

ตักนํ้าใส่กระโหลกชะโงกดูเงา แปลว่า

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิต “ตักนํ้าใส่กระโหลกชะโงกดูเงา” หมายความว่า ให้รู้จักฐานะของตนและเจียมตัว. [read more...]

ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

“ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน” เป็นสุภาษิตหมายถึง จะทำการใดๆ ควรคิด ควรศึกษา พยายามทำด้วยตัวเองอย่างสุดความสามารถ ก่อนที่จะไปพึ่งพา ขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น เพราะในบางสถานการณ์ผู้อื่นก็อาจจะไม่สามารถช่วยเหลือได้ เช่น [read more...]

ตกกระไดพลอยโจน

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สุภาษิต “ตกกระไดพลอยโจน” หมายความว่า จําเป็นที่จะต้องยอมเข้าไปเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่มีทางเลี่ยง. [read more...]